ผู้เขียน หัวข้อ: เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!  (อ่าน 4402 ครั้ง)

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 812
    • ดูรายละเอียด
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 812
    • ดูรายละเอียด
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 812
    • ดูรายละเอียด
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 812
    • ดูรายละเอียด
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 812
    • ดูรายละเอียด
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 812
    • ดูรายละเอียด
ลวดหนาม มีกี่ประเภท

ลวดหนามมี 2 แบบ
ลวดหนาม ที่เราพอจะนึกออกและเคยเห็น มีอยู่ 2 ประเภทที่เห็นได้ชัดๆ คือ

ลวดหนามล้อมบ้านทั่วไป
ลวดหนามหีบเพลง
1. ลวดหนามล้อมบ้านทั่วไป
ลวดหนามประเภทนี้ก็คือลวดหนามล้อมที่ดิน ล้อมบ้าน ล้อมส้วน ล้อมที่ดินทั่วไปของเรานั่นเอง โดยมากจะแบ่ง ตามลักษณะของปมหนาม หรือ รูปแบบวิธี หรือ คุณภาพการพันนั่นเอง

  1.1 ลักษณะของหนามปมลวดหนาม
ลวดหนามในปัจจุบัน มีรูปแบบการพันปมหนามอยู่ 2 แบบ คือ

1.1.1 การพันเกลียวหนามแบบธรรมดา (Conventional)
เป็นการพันเกลียวลวดหนามแบบเก่า มีโอกาสที่หนามจะหลุด หรือเกลียวหนามอาจคลายได้ในส่วนของตัวเส้นลวดจะมีการพันเกลียวแบบหลวมๆ ไม่แน่น มีโอกาสที่ติดตั้งแล้วจะทำให้ลวดหนามหย่อนในอนาคต ตัวอย่างมีให้เห็นตามทั่วไป (ตามรูปด้านล่าง)
ลวดหนามทั่วไป

ลวดหนามประเภทนี้เราผมเห็นกันได้มากตามพื้นที่ทั่วไป เส้นลวดมักมีขนาดใหญ่ เมื่อเทียบกับลวดหนามประเภทอื่น แต่ค่อนข้างหาซื้อได้ง่าย ซึ่งมีข้อดีคือเป็นลวดหนามที่ราคาถูก มักขายเป็น ชั่งกิโลขาย ข้อเสียหนึ่ง คือเมื่อเป็นการชั่งกิโลขาย 5 กิโลบ้าง 10 กิโลบ้างจะ
 ทำให้ความยาวลวดแต่ละม้วน จะไม่เท่ากันเป็นเหตุผลให้การทำงานยากมากขึ้น เนื่องจากการที่ต้องทำการต่อลวดหลายรอบ

อีกหนึ่งปัญหาที่พบเจอกับการล้อมรั้วลวดหนามคือ ขึ้นสนิมง่าย เพราะลวดหนามทั่วไป จะเป็นการชุบแบบไฟฟ้า (Electroplating) ซึ่งการชุบซิงค์แบบนี้ปริมาณซิงค์ที่ชุบค่อนข้างที่บางมาก ๆ ทำให้อายุการใช้งานของลวดหนามทั่วไปเกิดสนิมเร็ว ประมาณ 6 เดือน – 1 ปี
เริ่มขึ้นสนิมแล้ว หรือจะเป็นปัญหาล้อมรั้วลวดหนามทั่วไปจะขาดง่าย  ขึงไม่ตึง หย่อน  รวมถึงตัวเกลียวหนาม ที่ถักมาไม่แน่นทำให้เป็นสาเหตุของลวดหนามไม่ตึง และหย่อนง่าย ซึ่งถ้าสังเกตการล้อมรั้วลวดหนามทั่วไปที่ติดตั้งตามท้องตลาด ติดตั้งไปได้ 1-2 เดือน รั้วลวดหนามทั่วไปจะเริ่มหย่อนเป็นท้องช้าง ไม่สวยงาม
หรือเห็นรั้วลวดหนามขาดเป็นบางช่วง  ทำให้เปลืองงบประมาณในการซื้อลวดหนามมาติดตั้งใหม่ เสียทั้งเวลา เสียทั้งค่าแรง

ลวดหนาม
รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย
ลวดหนามกันสนิม

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 812
    • ดูรายละเอียด
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 812
    • ดูรายละเอียด
ปลูกผักหลังบ้าน

การปลูกผักหลังบ้านเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ทุกคน ไม่ว่าจะมีพื้นที่มากหรือน้อยก็สามารถปลูกผักได้ การปลูกผักหลังบ้านเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกายและใจ อีกทั้งยังช่วยให้เราประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วย

ประโยชน์ของการปลูกผักหลังบ้าน

การปลูกผักหลังบ้านมีประโยชน์มากมาย ดังนี้

เป็นแหล่งวิตามินและแร่ธาตุที่จำเป็นต่อร่างกาย ผักสดอุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุที่จำเป็นต่อร่างกาย เช่น วิตามินซี วิตามินเอ แคลเซียม เหล็ก เป็นต้น วิตามินและแร่ธาตุเหล่านี้มีส่วนช่วยในการบำรุงร่างกาย เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน และป้องกันโรคต่างๆ
ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคเรื้อรัง ผักมีสารต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยป้องกันเซลล์ไม่ให้ถูกทำลายจากอนุมูลอิสระ อนุมูลอิสระเป็นสาเหตุของการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน เป็นต้น
ช่วยลดน้ำหนัก ผักมีกากใยสูง ช่วยทำให้รู้สึกอิ่มเร็ว จึงช่วยลดปริมาณอาหารและแคลอรีที่รับประทานเข้าไป ส่งผลให้น้ำหนักลดลง
เป็นกิจกรรมที่ผ่อนคลายและสร้างความสุข การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้จิตใจสงบ ผ่อนคลาย และสร้างความสุขให้กับตนเองและครอบครัว
ขั้นตอนการปลูกผักหลังบ้าน

การปลูกผักหลังบ้านสามารถทำได้ง่าย ๆ ดังนี้

เลือกพื้นที่ที่เหมาะสม พื้นที่สำหรับปลูกผักควรเป็นพื้นที่ที่มีแสงแดดส่องถึงอย่างน้อย 6 ชั่วโมงต่อวัน
เตรียมดิน ดินสำหรับปลูกผักควรเป็นดินร่วนซุย มีอินทรียวัตถุสูง
เลือกพันธุ์ผักที่เหมาะสม เลือกพันธุ์ผักที่เหมาะกับสภาพอากาศและพื้นที่ปลูก
หว่านหรือปลูกเมล็ด หว่านหรือปลูกเมล็ดผักตามคำแนะนำของฉลากบรรจุภัณฑ์
รดน้ำและดูแลอย่างสม่ำเสมอ รดน้ำให้ผักชุ่มชื้นอยู่เสมอ และดูแลกำจัดวัชพืช
ผักที่ปลูกง่าย

ผักที่ปลูกง่าย ได้แก่ ผักสวนครัวทั่วไป เช่น ผักคะน้า ผักบุ้ง ผักกาดหอม ผักชี ต้นหอม มะเขือเทศ แตงกวา เป็นต้น ผักเหล่านี้ปลูกง่าย ดูแลไม่ยาก และสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ภายใน 1-2 เดือน

เคล็ดลับในการทำสวนปลูกผัก

ควรเลือกผักที่เหมาะกับสภาพอากาศและพื้นที่ปลูก เพื่อให้ผักเจริญเติบโตได้ดี
ควรเตรียมดินให้พร้อมก่อนปลูกผัก โดยใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักลงไปในดินเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุ
ควรรดน้ำผักอย่างสม่ำเสมอ แต่ไม่ควรรดน้ำมากเกินไป เพราะจะทำให้รากผักเน่า
ควรกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ เพราะวัชพืชแย่งสารอาหารและน้ำจากผัก
ควรหมั่นสังเกตผัก หากพบโรคและแมลงควรรีบกำจัดให้ทันเวลา
การทำสวนปลูกผักหลังบ้านเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ทุกคน ไม่ว่าจะมีพื้นที่มากหรือน้อยก็สามารถปลูกผักได้ การปลูกผักหลังบ้านเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกายและใจ อีกทั้งยังช่วยให้เราประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วย
โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนามรั้วลวดหนาม

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 812
    • ดูรายละเอียด
ปลูกผักหลังบ้าน

การปลูกผักหลังบ้านเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ทุกคน ไม่ว่าจะมีพื้นที่มากหรือน้อยก็สามารถปลูกผักได้ การปลูกผักหลังบ้านเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกายและใจ อีกทั้งยังช่วยให้เราประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วย

ประโยชน์ของการปลูกผักหลังบ้าน

การปลูกผักหลังบ้านมีประโยชน์มากมาย ดังนี้

เป็นแหล่งวิตามินและแร่ธาตุที่จำเป็นต่อร่างกาย ผักสดอุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุที่จำเป็นต่อร่างกาย เช่น วิตามินซี วิตามินเอ แคลเซียม เหล็ก เป็นต้น วิตามินและแร่ธาตุเหล่านี้มีส่วนช่วยในการบำรุงร่างกาย เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน และป้องกันโรคต่างๆ
ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคเรื้อรัง ผักมีสารต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยป้องกันเซลล์ไม่ให้ถูกทำลายจากอนุมูลอิสระ อนุมูลอิสระเป็นสาเหตุของการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน เป็นต้น
ช่วยลดน้ำหนัก ผักมีกากใยสูง ช่วยทำให้รู้สึกอิ่มเร็ว จึงช่วยลดปริมาณอาหารและแคลอรีที่รับประทานเข้าไป ส่งผลให้น้ำหนักลดลง
เป็นกิจกรรมที่ผ่อนคลายและสร้างความสุข การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้จิตใจสงบ ผ่อนคลาย และสร้างความสุขให้กับตนเองและครอบครัว
ขั้นตอนการปลูกผักหลังบ้าน

การปลูกผักหลังบ้านสามารถทำได้ง่าย ๆ ดังนี้

เลือกพื้นที่ที่เหมาะสม พื้นที่สำหรับปลูกผักควรเป็นพื้นที่ที่มีแสงแดดส่องถึงอย่างน้อย 6 ชั่วโมงต่อวัน
เตรียมดิน ดินสำหรับปลูกผักควรเป็นดินร่วนซุย มีอินทรียวัตถุสูง
เลือกพันธุ์ผักที่เหมาะสม เลือกพันธุ์ผักที่เหมาะกับสภาพอากาศและพื้นที่ปลูก
หว่านหรือปลูกเมล็ด หว่านหรือปลูกเมล็ดผักตามคำแนะนำของฉลากบรรจุภัณฑ์
รดน้ำและดูแลอย่างสม่ำเสมอ รดน้ำให้ผักชุ่มชื้นอยู่เสมอ และดูแลกำจัดวัชพืช
ผักที่ปลูกง่าย

ผักที่ปลูกง่าย ได้แก่ ผักสวนครัวทั่วไป เช่น ผักคะน้า ผักบุ้ง ผักกาดหอม ผักชี ต้นหอม มะเขือเทศ แตงกวา เป็นต้น ผักเหล่านี้ปลูกง่าย ดูแลไม่ยาก และสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ภายใน 1-2 เดือน

เคล็ดลับในการทำสวนปลูกผัก

ควรเลือกผักที่เหมาะกับสภาพอากาศและพื้นที่ปลูก เพื่อให้ผักเจริญเติบโตได้ดี
ควรเตรียมดินให้พร้อมก่อนปลูกผัก โดยใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักลงไปในดินเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุ
ควรรดน้ำผักอย่างสม่ำเสมอ แต่ไม่ควรรดน้ำมากเกินไป เพราะจะทำให้รากผักเน่า
ควรกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ เพราะวัชพืชแย่งสารอาหารและน้ำจากผัก
ควรหมั่นสังเกตผัก หากพบโรคและแมลงควรรีบกำจัดให้ทันเวลา
การทำสวนปลูกผักหลังบ้านเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ทุกคน ไม่ว่าจะมีพื้นที่มากหรือน้อยก็สามารถปลูกผักได้ การปลูกผักหลังบ้านเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกายและใจ อีกทั้งยังช่วยให้เราประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วย
โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนามรั้วลวดหนาม

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 812
    • ดูรายละเอียด
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 812
    • ดูรายละเอียด
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 812
    • ดูรายละเอียด
ลวดหนาม มีกี่ประเภท

ลวดหนามมี 2 แบบ
ลวดหนาม ที่เราพอจะนึกออกและเคยเห็น มีอยู่ 2 ประเภทที่เห็นได้ชัดๆ คือ

ลวดหนามล้อมบ้านทั่วไป
ลวดหนามหีบเพลง
1. ลวดหนามล้อมบ้านทั่วไป
ลวดหนามประเภทนี้ก็คือลวดหนามล้อมที่ดิน ล้อมบ้าน ล้อมส้วน ล้อมที่ดินทั่วไปของเรานั่นเอง โดยมากจะแบ่ง ตามลักษณะของปมหนาม หรือ รูปแบบวิธี หรือ คุณภาพการพันนั่นเอง

  1.1 ลักษณะของหนามปมลวดหนาม
ลวดหนามในปัจจุบัน มีรูปแบบการพันปมหนามอยู่ 2 แบบ คือ

1.1.1 การพันเกลียวหนามแบบธรรมดา (Conventional)
เป็นการพันเกลียวลวดหนามแบบเก่า มีโอกาสที่หนามจะหลุด หรือเกลียวหนามอาจคลายได้ในส่วนของตัวเส้นลวดจะมีการพันเกลียวแบบหลวมๆ ไม่แน่น มีโอกาสที่ติดตั้งแล้วจะทำให้ลวดหนามหย่อนในอนาคต ตัวอย่างมีให้เห็นตามทั่วไป (ตามรูปด้านล่าง)
ลวดหนามทั่วไป

ลวดหนามประเภทนี้เราผมเห็นกันได้มากตามพื้นที่ทั่วไป เส้นลวดมักมีขนาดใหญ่ เมื่อเทียบกับลวดหนามประเภทอื่น แต่ค่อนข้างหาซื้อได้ง่าย ซึ่งมีข้อดีคือเป็นลวดหนามที่ราคาถูก มักขายเป็น ชั่งกิโลขาย ข้อเสียหนึ่ง คือเมื่อเป็นการชั่งกิโลขาย 5 กิโลบ้าง 10 กิโลบ้างจะ
 ทำให้ความยาวลวดแต่ละม้วน จะไม่เท่ากันเป็นเหตุผลให้การทำงานยากมากขึ้น เนื่องจากการที่ต้องทำการต่อลวดหลายรอบ

อีกหนึ่งปัญหาที่พบเจอกับการล้อมรั้วลวดหนามคือ ขึ้นสนิมง่าย เพราะลวดหนามทั่วไป จะเป็นการชุบแบบไฟฟ้า (Electroplating) ซึ่งการชุบซิงค์แบบนี้ปริมาณซิงค์ที่ชุบค่อนข้างที่บางมาก ๆ ทำให้อายุการใช้งานของลวดหนามทั่วไปเกิดสนิมเร็ว ประมาณ 6 เดือน – 1 ปี
เริ่มขึ้นสนิมแล้ว หรือจะเป็นปัญหาล้อมรั้วลวดหนามทั่วไปจะขาดง่าย  ขึงไม่ตึง หย่อน  รวมถึงตัวเกลียวหนาม ที่ถักมาไม่แน่นทำให้เป็นสาเหตุของลวดหนามไม่ตึง และหย่อนง่าย ซึ่งถ้าสังเกตการล้อมรั้วลวดหนามทั่วไปที่ติดตั้งตามท้องตลาด ติดตั้งไปได้ 1-2 เดือน รั้วลวดหนามทั่วไปจะเริ่มหย่อนเป็นท้องช้าง ไม่สวยงาม
หรือเห็นรั้วลวดหนามขาดเป็นบางช่วง  ทำให้เปลืองงบประมาณในการซื้อลวดหนามมาติดตั้งใหม่ เสียทั้งเวลา เสียทั้งค่าแรง

ลวดหนาม
รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย
ลวดหนามกันสนิม

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 812
    • ดูรายละเอียด
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 812
    • ดูรายละเอียด
ทำไมที่ดินถึงมีราคาสูงขึ้น



ที่ดินแปลงหนึ่งมีแค่ที่เดียว
นี่เรียกว่าเป็นจุดเด่นของที่ดินเลยก็ว่าได้ ที่ดินหนึ่งแห่งนั้นมีคุณสมบัติเฉพาะในตัวมันเอง และมีเพียงชิ้นเดียว ไม่สามารถผลิตเพิ่มได้ หากอยากได้มาครอบครองก็ต้องซื้อต่อสถานเดียวครับ

จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น
เมื่อประชากรมีจำนวนมากขึ้น ความต้องการด้านที่อยู่อาศัยก็เพิ่มขึ้น ยิ่งในปัจจุบันคนต้องการมีพื้นที่ส่วนตัว และต้องการมีครอบครัวเดี่ยวด้วยแล้ว ราคาที่ดินจึงลดลงได้ยาก เมื่อ Demand กับ Supply มาเจอกัน ราคาที่ดินย่อมดีดตัวสูงขึ้น เนื่องจากทรัพยากรมีจำกัดนั่นเองครับ

ความเจริญของเมือง
แน่นอนว่าเมื่อสังคมเมืองมีการขยายตัว มีห้างสรรพสินค้า รถไฟฟ้า และการขนส่งสาธารณะที่สะดวกสบาย ราคาที่ดินในละแวกนั้นย่อมสูงขึ้นตามไปด้วย ยิ่งใกล้สถานที่ที่เป็นทำเลทองมากเท่าไร แปลว่าคนที่อาศัยอยู่บนที่ดินนั้นจะสะดวกสบายในการใช้ชีวิตมากขึ้น ดังนั้น ที่ดินบริเวณนั้นจึงแพงและมิอาจประเมินราคาที่ดินได้เลย ส่วนมากคนที่ซื้อต่อจึงเป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์นั่นเอง

เงินเฟ้อ
ถึงแม้ว่ามูลค่าที่ดินจะเท่าเดิม หรือหยุดนิ่งไปบ้าง แต่ถ้าเกิดปัญหาเงินเฟ้อ ราคาที่ดินย่อมมีราคาสูงขึ้นตามไปด้วย ตามเศรษฐกิจโดยรวมนั่นเองครับ

ข้อสังเกต
อีกสิ่งหนึ่งที่ทำให้ราคาที่ดินมีราคาสูงขึ้นกว่ามูลค่าของมัน เป็นเพราะช่วงภาวะฟองสบู่ สังคมหันมาลงทุนซื้อที่ดิน สร้างอสังหาฯ เพื่อเก็งกำไร ซึ่งราคาที่ดินที่สูงเกินความเป็นจริง จริงๆ แล้วได้ผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตด้วย ดังนั้น หากมีผู้ซื้อเพื่อเอาไว้ลงทุนในอนาคตมากเท่าไร ราคาที่ดินก็ยิ่งแพงหูฉี่มากเท่านั้นครับ
แต่ถ้าฟองสบู่แตก มูลค่าผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตก็จะลดลงไปด้วย ราคาที่ดินก็อาจจะลดลงเท่ากับมูลค่าที่แท้จริงของมันครับ
ลวดหนาม
รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย
ลวดหนามกันสนิม

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 812
    • ดูรายละเอียด
เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

 

ลงประกาศฟรี โฆษณาฟรี ลงประกาศขายบ้านฟรี ลงประกาศขายบ้าน ขายที่ดิน ขายคอนโด ขายรถ สินค้าอุตสาหกรรม อาหารเสริม เครื่องสำอางค์ แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว โปรโมทสินค้าฟรี เว็บประกาศฟรี ติดอันดับ Google